วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

มะละกอ Papaya
มะละกอ ชื่อวิทยาศาสตร์: Carica papyya L. ชื่อวงศ์: CARICACEAE ชื่อสามัญ: Papaya. ชื่อท้องถิ่น: มะก๊วยเต็ด ก๊วยเท็ด
ลักษณะทั่วไปของมะละกอ สามารถเจริญเติบโ๋ตได้ดีในทุกสภาพภูมิอากาศ ดินร่วนปนทรายที่มีการระบายน้ำได้ดี น้ำไม่ท่วมขัง มีความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง 6.0-6.8 มะละกอใช้ผลบริโภคทั้งผลดิบและผลสุก

การเตรียมดินเพาะกล้ามะละกอ


โดยการใช้ดิน ที่มีส่วนผสมดังนี้ ดินร่วน 3 บุ้งกี๋ ปุ๋ยคอก, ขี้เถ้าแกลบ, ทรายหยาบ อัตราส่วน 1:1:1 ผสมคลุกเคล้าให้เข้ัากัน แล้วนำ มากรอกลงในถุงพลาสติกขนาด 4×6 หรือ 4×4 นิ้ว ให้เต็ม รดน้ำดินในถุงให้ชุ่ม นำเมล็ดพันธุ์มาหยอดลงในถุง ถุงละ 1-2 เมล็ด รดน้ำให้ชุ่มดูแลรักษารดน้ำทุกวัน หลังเมล็ดเริ่มงอกแล้วดูแลรักษาต้นกล้าประมาณ 30 วัน ก็สามารถย้ายปลูกในหลุมปลูกได้

การเตรียมแปลงปลูกมะละกอ

มะละกอ เป็นพืชที่มีระบบรากลึกและกว้าง ทำหลุมปลูกระยะห่างระหว่างแถว 2-2.5 เมตร ระหว่างต้น 2 เมตร ตีหลุมลึก 0.5 เมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยเคมี 15-15-15 อัตรา 1 ช้อนแกงต่อหลุม ใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้ว ทับบนปุ๋ยเคมี นำต้นกล้ามะละกอ ลงปลูกในหลุมกลบโคนเล็กน้อยแล้วรดน้ำให้ชุ่ม หลังปลูกเสร็จให้ทำหลักเพื่อยึดลำต้นไม่ให้โยกขณะลมพัด

การดูแลรักษามะละกอ

  1. การใ้ห้ปุ๋ย
    - ให้ปุ๋ย 15-15-15 หลุมละ 1 ช้อนแกง ทุก 30 วัน
    - ให้ปุ๋ย 14-14-21 หลังติดดอกออกผลแล้ว อัตรา 1ช้อนแกง/ต้น/หลุม หรือจะใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์น้อยลงก็ได้
  2. การให้น้ำ เนื่องจากมะละกอเป็นพืชที่ต้องการน้ำน้อย แต่อย่าให้ขาดน้ำ เพราะจะทำให้ต้นแคระแกรน ไม่ติดดอกออกผล การให้น้ำอย่าให้มากเกินไป ถ้าน้ำท่วมขังนาน 1-2 วัน ต้นมะละกอจะเหลืองและตายในที่สุด
  3. การพรวนดินกำจัดวัชพืช ควรมีการพรวนดินกำจัดวัชพืชในช่วงแรก อย่าให้วัชพืชรบกวน
  4. การทำไม้หลัก เพื่อค้ำยันพยุงลำต้นไม่ให้ล้ม โดยเฉพาะช่วงติดผล

การเก็บเกี่ยว

มะละกอ ถ้าเก็บผลดิบสามารถเก็บได้หลังปลูกประมาณ 5-6 เดือน แต่ถ้าเก็บผลสุกหลังจากปลูกประมาณ 8-10 เดือน ถึงสามาถเก็บเกี่ยวได้ ให้เลือกเก็บเกี่ยวผลที่กำลังเริ่มสุกมีสีแต้มสีส้มปนเขียวนิดๆ ผลยังไม่นิ่ม
 

               มะละกอ

 
มะละกอ
มะละกอขณะออกผล
มะละกอขณะออกผล
Commons
มะละกอ (อังกฤษ: Papaya, คำเมือง: ᨠᩖ᩠ᩅ᩠᩶ᨿᨴᩮ᩠ᩈ) เป็นไม้ผลชนิดหนึ่ง สูงประมาณ 5-10 เมตร มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลาง ถูกนำเข้าสู่ประเทศไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผลดิบมีสีเขียว เมื่อสุกแล้วเนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม นิยมนำมารับประทานทั้งสดและนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ ฯลฯ หรือนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ก็ได้

เนื้อหา

[แก้] ลักษณะทั่วไป

มะละกอเป็นไม้ล้มลุก (บางครั้งอาจเข้าใจผิดว่าเป็นไม้ยืนต้น) ใบมีลักษณะเป็นใบเดี่ยว 5-9 แฉก เกาะกลุ่มอยู่ด้านบนสุดของลำต้น ภายในก้านใบและใบมียางเหนียวสีขาวอยู่ มะละกอบางต้นอาจมีดอกเพียงเพศเดียว แต่บางต้นอาจมีดอกได้ทั้งสองเพศก็ได้ ผลเป็นรูปรี อาจหนักได้ถึง 9 กิโลกรัม ผลดิบมีสีเขียว และมีน้ำยางสีขาวสะสมอยู่ที่เปลือก ส่วนผลสุก เนื้อในจะมีสีเหลืองถึงส้ม มีเมล็ดสีดำเล็ก ๆ อยู่ภายในกินไม่ได้

[แก้] ประโยชน์

นอกจากการนำมะละกอไปรับประทานสด ๆ แล้ว เรายังสามารถนำไปปรุงอาหาร เช่น ส้มตำ แกงส้ม ฯลฯ หรือนำไปหมักเนื้อให้นุ่มได้อีกด้วย เพราะในมะละกอมีเอนไซม์ชนิดหนึ่งเรียกว่า พาเพน (Papain) ซึ่งสามารถนำเอนไซม์ชนิดนี้ไปใส่ในผงหมักเนื้อสำเร็จรูป บางครั้งนำไปทำเป็นยาช่วยย่อยสำหรับผู้ที่มีปัญหาอาหารไม่ย่อยก็ได้
สำหรับสารอาหารในมะละกอนั้น มีดังต่อไปนี้
เนื้อมะละกอสุก
สารอาหารปริมาณสารอาหารต่อมะละกอสุก 100 กรัม
โปรตีน0.5 กรัม
ไขมัน0.1 กรัม
แคลเซียม24 มิลลิกรัม
ฟอสฟอรัส22 มิลลิกรัม
เหล็ก0.6 มิลลิกรัม
โซเดียม4 มิลลิกรัม
ไทอะมีน0.04 มิลลิกรัม
ไรโบฟลาวิน0.04 มิลลิกรัม
ไนอะซิน0.4 มิลลิกรัม
กรดแอสคอร์บิก (วิตามินซี)70 มิลลิกรัม
สรรพคุณของมะละกอ สรรพคุณของมะละกอมีมากมายนัก ใช้เป็นยาสมุนไพรรักษาโรคได้ 1. แก้อาการขัดเบา ใช้รากสด (1 กำมือ) 70-90 กรัม รากแห้ง 25-35 กรัม หั่นต้มกับน้ำ กรองดื่มเฉพาะน้ำ วันละ 3 ครั้ง ครั้งละ 1 ถ้วยชา(75 มิลลิลิตร) ดื่มก่อนอาหาร
2. เป็นยาระบายอ่อนๆ การกินเนื้อมะละกอสุก ช่วยเป็นยาระบายอ่อนๆ เพราะไปช่วยเพิ่มจำนวนกากไยอาหาร ดังนั้นเนื้อผลสุกมะละกอจะช่วยระบายอ่อนๆ แก้ท้องผูก
สรรพคุณ มะละกอ :
ผลสุก - เป็นมีสรรพคุณป้องกัน หรือแก้โรคเลือดออกตามไรฟัน เป็นยาระบาย
ยางจากผลดิบ - เป็นยาช่วยย่อยโปรตีน ฆ่าพยาธิได้
รากมะละกอ - ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา
ใช้เป็นยาระบาย :ใช้ผลสุกไม่จำกัดจำนวน รับประทานเป็นผลไม้
เป็นยาช่วยย่อย: 1. ใช้เนื้อมะละกอดิบไม่จำกัด ประกอบอาหาร เช่น ส้มตำ แกง เป้นผักจิ้ม 2. ยางจากผลดิบ หรือจากก้านใบ ใช้ 10-15 กรัม หรือถ้าเป็นตัวยาช่วยย่อย เพราะในยางมะละกอมีสารที่เรียกว่า Papain
เป็นยากัน หรือแก้โรคลักปิดลักเปิด โรคเลือดออกตามไรฟัน: ใช้มะละกอสุกรับประทานเป็นผลไม้ ให้วิตามินซีสูง
เท้าบวม: เอาใบมะละกอสดตำให้แหลกผสมกับเหล้าขาว ใช้พอกเท้าที่บวมลดอาการบวมลงได้
แก้เคล็ดขัดยอก: ใช้รากมะละกอสดตำให้แหลกผสมเหล้าโรงพอก
โดนหนามตำหรือหนามหักคาเนื้อใน: ให้บ่งปากแผลเปิดออก เอายางมะละกอดิบใส่หนามจะหลุดออก
คันเพราะพิษของหอยคัน: ให้ใช้ยางมะละกอดิบทาเช้า-เย็นจนหาย
เมื่อมีอาการปวดตามข้อและหลัง: รับประทานมะละกอสุกเป็นประจำป้องกันและบำบัดโรคปวดข้อปวดหลังได้ ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ไม่มีแรง ใช้รากมะละกอตัวผู้แช่เหล้าขาวให้ท่วมยาไว้ 7 วัน และกรองเอาน้ำใช้ทาแก้ปวดข้อและกล้ามเนื้อเปลี้ยอ่อนแรง ลดอาการปวดบวม ให้เอาใบมะละกอสดย่างไฟหรือลวกกับน้ำร้อนแล้วประคบบริเวณที่ปวด หรือตำพอหยาบห่อด้วยผ้าขาวบางทำเป็นลูกประคบ
ถ้าโดนตะปูตำเป็นแผล: ให้เอาผิวลูกมะละกอดิบตำพอกแผล เปลี่ยนยาวันละ 2 ครั้ง แผลน้ำร้อนลวก ใช้เนื้อมะละกอดิบต้มให้สุกจนเปือย ตำพอกที่แผล แผลพุพอง ใช้ใบมะละกอแห้งกรอบบดเป็นผง ผสมกับน้ำกะทิพอเหนียวข้น ใช้พอกหรือทาที่แผลวันละ 2-3 ครั้ง
แก้ผดผืนคัน: ใช้ใบมะละกอ 1 ใบ น้ำมะนาว 2 ผล เกลือ 1 ช้อนชา ตำรวมกันให้ละเอียดเอาทั้งน้ำและเนื้อทาแผลบ่อยๆ กลาก เกลื้อน ฮ่องกงฟุตหรือเท้าเปือย ใช้ยางของลูกมะละกอดิบทาวันละ 3 ครั้งฆ่าเชื้อราได้

[แก้] อ้างอิง

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น

วันอาทิตย์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

การปลูกกล้วย
หวัดดีหวัดดี
แปลงสำหรับการปลูกกล้วยนั้น  ระยะห่างของการปลูกกล้วยในประเทศไทยนิยมปลูกให้มีระยะห่างระหว่างต้นในระยะ  3×3  เมตร 
5×5  เมตร  ไปจนถึง  10×10  เมตร ซึ่งแล้วแต่ว่าพันธุ์กล้วยที่นำมาปลูกนั้นมีขนาดเล็ก
ใหญ่มากน้อยแค่ไหน ชาวสวนที่จังหวัดนนทบุรีนิยมปลูกกล้วยแบบแปลงยกร่อง  ซึ่งทำให้พื้นที่ในปลูกกล้วยลดน้อยลง  ดังนั้นการปลูกกล้วยบนแปลงยกร่องจึงมักจะปลูกแบบชิด  โดยให้มีระยะห่างระหว่างแถวขนาด  2×3  เมตร
การปลูกกล้วยควรเลือกช่วงฤดูฝนจะเหมาะที่สุด  โดยเริ่มปลูกเมื่อแรกฤดูฝนมาเยือน 
หลังจากนั้นประมาณ  1  เดือนฝนจะตกชุกมากขึ้น  กล้วยก็จะผลิยอดอ่อนและเติบโต
ขึ้นมาอย่างรวดเร็ว การปลูกกล้วยอีกอย่างหนึ่ง  คือ  ช่วงที่กล้วยออกผลแล้ว  ซึ่งโดยธรรมชาติเมื่อกล้วยออกหน่อจะเริ่มแทงขึ้นมาใหม่  เมื่อเก็บผลแล้วชาวสวนจะเลือก
หน่อที่แข็งแรงสมบูรณ์  โดยเลือกหน่อใบดาบ(หน่อใบแคบ)  ที่สูงประมาณ 40-50  เซนติเมตรไปขยายพันธุ์ปลูกต่อไป
          วิธีการปลูกกล้วย
ชาวสวนมีวิธีการปลูกกล้วยอยู่  2  ลักษณะด้วยกัน  คือ
1.ปลูกแบบแห้ง
2.ปลูกแบบน้ำ
           การปลูกกล้วยแบบแห้ง
การปลูกกล้วยแบบแห้งจะเริ่มที่ชาวสวนลงมือกำจัดวัชพืชที่มีอยู่บนแปลงยกร่องจนหมด  จากนั้นขุดพลิกฟื้นดินใหม่ทั้งสวน  ปล่อยดินตากแดดไว้ประมาณ  1  สัปดาห์  จากนั้นจึงลงมือ
ขุดหลุมปลูกกล้วย การขุดหลุมปลูกกล้วยนิยมขุดหลุมให้มีขนาดประมาณ  20×20  เซนติเมตร  ลึกประมาณ  50  เซนติเมตร  ใช้ดินผสมกับปุ๋ยคอกรองก้นหลุมให้สูงประมาณ  20  เซนติเมตร  จากนั้นนำหน่อกล้วยที่ตัดรากออกหมดแล้วลงไปในหลุม  กลบดินพอหลวมๆ  ก่อนแล้วค่อยๆ  เหยียบดินรอบโคนต้นให้แน่น  จากนั้นรดน้ำให้ชุ่ม
         การปลูกกล้วยแบบน้ำ
การปลูกกล้วยแบบน้ำเป็นวิธีการปลูกกล้วยหอมทอง  ซึ่งจะไม่ขออธิบายในที่นี้  ถ้าท่านสนใจกรุณาอ่านได้จากหนังสือการทำกล้วยหอม  ซึ่งจะแนะนำวิธีการปลูกกล้วยแบบน้ำโดยละเอียด
ขั้นตอนการปลูกกล้วยน้ำว้ามีเพียงเท่านี้
การปลูกกล้วย


นั่นอะไรนั่นอะไร
การปลูกกล้วย
หวัดดีหวัดดี
แปลงสำหรับการปลูกกล้วยนั้น  ระยะห่างของการปลูกกล้วยในประเทศไทยนิยมปลูกให้มีระยะห่างระหว่างต้นในระยะ  3×3  เมตร 
5×5  เมตร  ไปจนถึง  10×10  เมตร ซึ่งแล้วแต่ว่าพันธุ์กล้วยที่นำมาปลูกนั้นมีขนาดเล็ก
ใหญ่มากน้อยแค่ไหน ชาวสวนที่จังหวัดนนทบุรีนิยมปลูกกล้วยแบบแปลงยกร่อง  ซึ่งทำให้พื้นที่ในปลูกกล้วยลดน้อยลง  ดังนั้นการปลูกกล้วยบนแปลงยกร่องจึงมักจะปลูกแบบชิด  โดยให้มีระยะห่างระหว่างแถวขนาด  2×3  เมตร
การปลูกกล้วยควรเลือกช่วงฤดูฝนจะเหมาะที่สุด  โดยเริ่มปลูกเมื่อแรกฤดูฝนมาเยือน 
หลังจากนั้นประมาณ  1  เดือนฝนจะตกชุกมากขึ้น  กล้วยก็จะผลิยอดอ่อนและเติบโต
ขึ้นมาอย่างรวดเร็ว การปลูกกล้วยอีกอย่างหนึ่ง  คือ  ช่วงที่กล้วยออกผลแล้ว  ซึ่งโดยธรรมชาติเมื่อกล้วยออกหน่อจะเริ่มแทงขึ้นมาใหม่  เมื่อเก็บผลแล้วชาวสวนจะเลือก
หน่อที่แข็งแรงสมบูรณ์  โดยเลือกหน่อใบดาบ(หน่อใบแคบ)  ที่สูงประมาณ 40-50  เซนติเมตรไปขยายพันธุ์ปลูกต่อไป
          วิธีการปลูกกล้วย
ชาวสวนมีวิธีการปลูกกล้วยอยู่  2  ลักษณะด้วยกัน  คือ
1.ปลูกแบบแห้ง
2.ปลูกแบบน้ำ
           การปลูกกล้วยแบบแห้ง
การปลูกกล้วยแบบแห้งจะเริ่มที่ชาวสวนลงมือกำจัดวัชพืชที่มีอยู่บนแปลงยกร่องจนหมด  จากนั้นขุดพลิกฟื้นดินใหม่ทั้งสวน  ปล่อยดินตากแดดไว้ประมาณ  1  สัปดาห์  จากนั้นจึงลงมือ
ขุดหลุมปลูกกล้วย การขุดหลุมปลูกกล้วยนิยมขุดหลุมให้มีขนาดประมาณ  20×20  เซนติเมตร  ลึกประมาณ  50  เซนติเมตร  ใช้ดินผสมกับปุ๋ยคอกรองก้นหลุมให้สูงประมาณ  20  เซนติเมตร  จากนั้นนำหน่อกล้วยที่ตัดรากออกหมดแล้วลงไปในหลุม  กลบดินพอหลวมๆ  ก่อนแล้วค่อยๆ  เหยียบดินรอบโคนต้นให้แน่น  จากนั้นรดน้ำให้ชุ่ม
         การปลูกกล้วยแบบน้ำ
การปลูกกล้วยแบบน้ำเป็นวิธีการปลูกกล้วยหอมทอง  ซึ่งจะไม่ขออธิบายในที่นี้  ถ้าท่านสนใจกรุณาอ่านได้จากหนังสือการทำกล้วยหอม  ซึ่งจะแนะนำวิธีการปลูกกล้วยแบบน้ำโดยละเอียด
ขั้นตอนการปลูกกล้วยน้ำว้ามีเพียงเท่านี้
การปลูกกล้วย


นั่นอะไรนั่นอะไร
การปลูกกล้วย
หวัดดีหวัดดี
แปลงสำหรับการปลูกกล้วยนั้น  ระยะห่างของการปลูกกล้วยในประเทศไทยนิยมปลูกให้มีระยะห่างระหว่างต้นในระยะ  3×3  เมตร 
5×5  เมตร  ไปจนถึง  10×10  เมตร ซึ่งแล้วแต่ว่าพันธุ์กล้วยที่นำมาปลูกนั้นมีขนาดเล็ก
ใหญ่มากน้อยแค่ไหน ชาวสวนที่จังหวัดนนทบุรีนิยมปลูกกล้วยแบบแปลงยกร่อง  ซึ่งทำให้พื้นที่ในปลูกกล้วยลดน้อยลง  ดังนั้นการปลูกกล้วยบนแปลงยกร่องจึงมักจะปลูกแบบชิด  โดยให้มีระยะห่างระหว่างแถวขนาด  2×3  เมตร
การปลูกกล้วยควรเลือกช่วงฤดูฝนจะเหมาะที่สุด  โดยเริ่มปลูกเมื่อแรกฤดูฝนมาเยือน 
หลังจากนั้นประมาณ  1  เดือนฝนจะตกชุกมากขึ้น  กล้วยก็จะผลิยอดอ่อนและเติบโต
ขึ้นมาอย่างรวดเร็ว การปลูกกล้วยอีกอย่างหนึ่ง  คือ  ช่วงที่กล้วยออกผลแล้ว  ซึ่งโดยธรรมชาติเมื่อกล้วยออกหน่อจะเริ่มแทงขึ้นมาใหม่  เมื่อเก็บผลแล้วชาวสวนจะเลือก
หน่อที่แข็งแรงสมบูรณ์  โดยเลือกหน่อใบดาบ(หน่อใบแคบ)  ที่สูงประมาณ 40-50  เซนติเมตรไปขยายพันธุ์ปลูกต่อไป
          วิธีการปลูกกล้วย
ชาวสวนมีวิธีการปลูกกล้วยอยู่  2  ลักษณะด้วยกัน  คือ
1.ปลูกแบบแห้ง
2.ปลูกแบบน้ำ
           การปลูกกล้วยแบบแห้ง
การปลูกกล้วยแบบแห้งจะเริ่มที่ชาวสวนลงมือกำจัดวัชพืชที่มีอยู่บนแปลงยกร่องจนหมด  จากนั้นขุดพลิกฟื้นดินใหม่ทั้งสวน  ปล่อยดินตากแดดไว้ประมาณ  1  สัปดาห์  จากนั้นจึงลงมือ
ขุดหลุมปลูกกล้วย การขุดหลุมปลูกกล้วยนิยมขุดหลุมให้มีขนาดประมาณ  20×20  เซนติเมตร  ลึกประมาณ  50  เซนติเมตร  ใช้ดินผสมกับปุ๋ยคอกรองก้นหลุมให้สูงประมาณ  20  เซนติเมตร  จากนั้นนำหน่อกล้วยที่ตัดรากออกหมดแล้วลงไปในหลุม  กลบดินพอหลวมๆ  ก่อนแล้วค่อยๆ  เหยียบดินรอบโคนต้นให้แน่น  จากนั้นรดน้ำให้ชุ่ม
         การปลูกกล้วยแบบน้ำ
การปลูกกล้วยแบบน้ำเป็นวิธีการปลูกกล้วยหอมทอง  ซึ่งจะไม่ขออธิบายในที่นี้  ถ้าท่านสนใจกรุณาอ่านได้จากหนังสือการทำกล้วยหอม  ซึ่งจะแนะนำวิธีการปลูกกล้วยแบบน้ำโดยละเอียด
ขั้นตอนการปลูกกล้วยน้ำว้ามีเพียงเท่านี้
การปลูกกล้วย


นั่นอะไรนั่นอะไร
การปลูกกล้วย
หวัดดีหวัดดี
แปลงสำหรับการปลูกกล้วยนั้น  ระยะห่างของการปลูกกล้วยในประเทศไทยนิยมปลูกให้มีระยะห่างระหว่างต้นในระยะ  3×3  เมตร 
5×5  เมตร  ไปจนถึง  10×10  เมตร ซึ่งแล้วแต่ว่าพันธุ์กล้วยที่นำมาปลูกนั้นมีขนาดเล็ก
ใหญ่มากน้อยแค่ไหน ชาวสวนที่จังหวัดนนทบุรีนิยมปลูกกล้วยแบบแปลงยกร่อง  ซึ่งทำให้พื้นที่ในปลูกกล้วยลดน้อยลง  ดังนั้นการปลูกกล้วยบนแปลงยกร่องจึงมักจะปลูกแบบชิด  โดยให้มีระยะห่างระหว่างแถวขนาด  2×3  เมตร
การปลูกกล้วยควรเลือกช่วงฤดูฝนจะเหมาะที่สุด  โดยเริ่มปลูกเมื่อแรกฤดูฝนมาเยือน 
หลังจากนั้นประมาณ  1  เดือนฝนจะตกชุกมากขึ้น  กล้วยก็จะผลิยอดอ่อนและเติบโต
ขึ้นมาอย่างรวดเร็ว การปลูกกล้วยอีกอย่างหนึ่ง  คือ  ช่วงที่กล้วยออกผลแล้ว  ซึ่งโดยธรรมชาติเมื่อกล้วยออกหน่อจะเริ่มแทงขึ้นมาใหม่  เมื่อเก็บผลแล้วชาวสวนจะเลือก
หน่อที่แข็งแรงสมบูรณ์  โดยเลือกหน่อใบดาบ(หน่อใบแคบ)  ที่สูงประมาณ 40-50  เซนติเมตรไปขยายพันธุ์ปลูกต่อไป
          วิธีการปลูกกล้วย
ชาวสวนมีวิธีการปลูกกล้วยอยู่  2  ลักษณะด้วยกัน  คือ
1.ปลูกแบบแห้ง
2.ปลูกแบบน้ำ
           การปลูกกล้วยแบบแห้ง
การปลูกกล้วยแบบแห้งจะเริ่มที่ชาวสวนลงมือกำจัดวัชพืชที่มีอยู่บนแปลงยกร่องจนหมด  จากนั้นขุดพลิกฟื้นดินใหม่ทั้งสวน  ปล่อยดินตากแดดไว้ประมาณ  1  สัปดาห์  จากนั้นจึงลงมือ
ขุดหลุมปลูกกล้วย การขุดหลุมปลูกกล้วยนิยมขุดหลุมให้มีขนาดประมาณ  20×20  เซนติเมตร  ลึกประมาณ  50  เซนติเมตร  ใช้ดินผสมกับปุ๋ยคอกรองก้นหลุมให้สูงประมาณ  20  เซนติเมตร  จากนั้นนำหน่อกล้วยที่ตัดรากออกหมดแล้วลงไปในหลุม  กลบดินพอหลวมๆ  ก่อนแล้วค่อยๆ  เหยียบดินรอบโคนต้นให้แน่น  จากนั้นรดน้ำให้ชุ่ม
         การปลูกกล้วยแบบน้ำ
การปลูกกล้วยแบบน้ำเป็นวิธีการปลูกกล้วยหอมทอง  ซึ่งจะไม่ขออธิบายในที่นี้  ถ้าท่านสนใจกรุณาอ่านได้จากหนังสือการทำกล้วยหอม  ซึ่งจะแนะนำวิธีการปลูกกล้วยแบบน้ำโดยละเอียด
ขั้นตอนการปลูกกล้วยน้ำว้ามีเพียงเท่านี้
การปลูกกล้วย
                                       

                        สรรพคุณของกล้วย


      
1.  ฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย สาเหตุท้องเสีย
กล้วยมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย ที่เป็นสาเหตุอาการท้องเสีย เช่น Escherichia coli, Bacillus subtilis และแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคทัยฟอยด์ เป็นต้น (1, 2)
2.  สารสำคัญในการออกฤทธิ์แก้อาการท้องเสีย
พบสาร tannin (3) ซึ่งมีฤทธิ์ฝาดสมาน ใช้แก้อาการท้องเสียได้ (4)
3. ฤทธิ์รักษาอาการอุจจาระร่วง
                ผู้ป่วยอุจจาระร่วงจำนวน 31 คน รับประทานกล้วยแผ่น (banana flakes) ขนาด 40 กรัมต่อคน สามารถลดอาการท้องร่วงที่เกิดจากเชื้อ Clostridium difficile ได้ (5)
4.  ฤทธิ์ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
                กล้วยมีฤทธิ์ป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร (6-15แป้งจากผลกล้วยป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารหนูขาวเนื่องจากแอสไพริน indemethacin, phenylbutazone, prednisolone และ cyscamine และป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารหนูตะเภาเนื่องจากฮีสตามีน (6)  หนูที่กินกล้วยหักมุกดิบขนาด 5 ก./วัน นาน 2 วัน จะป้องกันการเกิดแผล (erosion) ในกระเพาะอาหารจากแอสไพรินได้ (7) และหนูถีบจักรที่กินอาหารผสมกล้วยก่อนถูกทำให้เป็นแผลในกระเพาะอาหารด้วยฮีสตามีน 1 สัปดาห์ จะลดการเกิดแผล (8)
                ผลกล้วยหอมดิบขนาด 7 ก./ตัว/วัน มีฤทธิ์รักษาแผลในกระเพาะอาหารที่เกิดขึ้นจาก indomethacin 20 มก./กก.  ส่วนกล้วยน้ำว้าดิบไม่มีฤทธิ์  เมื่อทดลองสกัดสารออกฤทธิ์ด้วยอัลกอฮอล์ 60% พบว่าสารสกัดจากกล้วยหอมและกล้วยพาโลดิบ ขนาด 0.5 และ 1 ก./กก. มีฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารที่เกิดจาก indomethacin และรักษาแผลเรื้อรังที่เกิดจากกรดอะซิติค แต่มีฤทธิ์ต่ำ (9)  ความยาวเฉลี่ยของแผลในกระเพาะอาหารหนูขาวที่กินสารสกัดจากกล้วยพาโลและกล้วยหอมในขนาด 1 ก./กก./วัน นาน 3 วัน ก่อนที่จะเกิดแผลเนื่องจาก indomethacin เท่ากับ 4.47 ±1.2 และ 1.87 ± 0.44 มม. ตามลำดับ (กลุ่มควบคุม 14.56 ±2.43 มม.)  และสารสกัดจากกล้วยหอมเท่านั้นที่มีผลในการรักษาแผลเรื้อรังที่เกิดจาก indomethacin แต่มีฤทธิ์ต่ำ  และกล้วยทั้ง 2 ชนิดให้ผลคล้ายกันในการรักษาแผลที่เกิดจากกรดอะซิติก (10)
                สารแขวนลอยจากผลกล้วย sweet banana ดิบ เมื่อใช้ความเข้มข้นสูงสามารถลดการเกิดแผลในกระเพาะอาหารแบบเฉียบพลันที่เกิดจาก indomethacin เช่นเดียวกับผลของ phosphatidylcholine และเพคตินซึ่งเป็นสารในกล้วย  และในการรักษาแผลในกระเพาะอาหารแบบเรื้อรัง สารแขวนลอยจากกล้วยดิบให้ผลการรักษาไม่สมบูรณ์และออกฤทธิ์ชั่วคราวเท่านั้น (11)
                เมื่อให้หนูขาวกินแป้งจากกล้วยป่าขนาด 1 ก./กก.  พบว่ายับยั้งการเกิดแผลในกระเพาะอาหารที่เกิดจาก indomethacin, เอทานอล และ hypothermic-restraint  69, 44 และ 48% ตามลำดับ (12)  หนูขาวที่กินแอสไพริน แล้วกินผลกล้วยป่าดิบ พบว่าป้องกันไม่ให้เกิดแผลได้ เมื่อกินผงกล้วยดิบขนาด 5 ก. และรักษาแผลที่เป็นแล้วในขนาด 7 ก.  สารสกัดด้วยน้ำมีฤทธิ์เป็น 300 เท่า ของผงกล้วยดิบ ส่วนกล้วยสุกไม่ให้ผล (13)  
แป้งจากผลกล้วยออกฤทธิ์สมานแผลและเพิ่มความแข็งแรงของเนื้อเยื่อเมือก (6, 14) และเร่งการแบ่งตัวของเซลล์ (6) นอกจากนี้ยังมีผลต่อกระบวนการสร้าง macrophage cell อันส่งผลไปถึงการรักษาแผล (15)
5.  สารสำคัญในการออกฤทธิ์ต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
สารสำคัญคือ sitoindoside I, II, III, IV, V (15-17)   และยังพบว่าสาร leucocyanidins ซึ่งเป็นสารกลุ่มฟลาโวนอยด์ เป็นสารออกฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารด้วย (18)
ข้อควรระวัง
เนื่องจากสารออกฤทธิ์เป็นกลุ่มสเตียรอยด์ การใช้ระยะยาวจึงต้องระมัดระวังเรื่องผลข้างเคียง เนื่องจากยังไม่มีผู้ศึกษาพิษของสารสำคัญ
6. หลักฐานความเป็นพิษและการทดสอบความเป็นพิษ

6.1 การศึกษาความเป็นพิษ

เมื่อฉีดสารสกัดเอทานอลและน้ำ (1:1) จากเปลือกผลแห้ง เข้าช่องท้องหนูถีบจักร พบว่าขนาดที่ทำให้สัตว์ทดลองตายเป็นจำนวนครึ่งหนึ่ง (LD50) มีค่าเท่ากับ 1 ก./กก. (19)  หนูขาวที่กินแป้งจากกล้วย ขนาด 1.25, 2.5 และ 5 ก./กก. นาน 5 สัปดาห์ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา และชีวเคมีเพียงเล็กน้อย ไม่พบความผิดปกติทางสรีรวิทยา (12)

                                6.2 พิษต่อตับ
เมื่อป้อนน้ำคั้นจากลำต้น ทางสายยางสู่กระเพาะอาหารในหนู ขนาด 2 ซีซี/ตัว  มีผลทำให้เกิดความเป็นพิษต่อตับ และภายใน 1-7 วัน ระดับแคลเซียม ฟอสฟอรัส ออกซาเลท และกรด glycolic ในเลือดลดลง (20)
6.3 ก่อกลายพันธุ์
สารสกัดน้ำจากดอกกล้วยไม่ทำให้เกิดการก่อกลายพันธุ์ (21) และสารสกัดน้ำ (21) และผงแห้งของกล้วยสุกจากกล้วยน้ำว้า กล้วยหอม และกล้วยไข่ (22) ยังมีฤทธิ์ช่วยยับยั้งการกลายพันธุ์ด้วย (21, 22)
6.4 พิษต่อยีน
เมื่อทดสอบสารสกัดน้ำของผลกล้วยต่อเซลล์รังไข่ของหนูแฮมสเตอร์  มีผลทำให้เกิดความเป็นพิษต่อโครโมโซม โดยทำให้โครโมโซมในช่วงการแบ่งตัวนั้นแตกสลาย ซึ่งผลจะลดลงเมื่อหนูแฮมสเตอร์ได้รับ liver microsomal S9 mixture  ดังนั้นพิษอาจถูกกำจัดโดยตับ (23)
การศึกษาวิจัยในประเทศเนเธอร์แลนด์ ถึงผลของ 2-trans-hexenal ซึ่งพบในกล้วย 35 ppm พบว่าเมื่อให้อาสาสมัครอมกลั้วปากด้วยสารละลาย 2-trans-hexenal ความเข้มข้น 10 ppm เป็นเวลา 3 วัน พบว่าปริมาณ micronuclei (MN) เพิ่มขึ้น แสดงว่าเป็นพิษต่อยีน แต่เมื่อให้อาสาสมัครกินกล้วย 3-6 ผล เป็นเวลา 3 วัน อาสาสมัคร 6 ใน 7 คน มี MN เพิ่ม แต่ไม่ต่างจากกลุ่มควบคุม (24)
6.5 ทำให้เกิดอาการแพ้
มีรายงานว่าผู้ที่รับประทานกล้วยอาจเกิดอาการแพ้ได้ พบว่าเมื่อทำ scratch test คนไข้ 1 ใน 2 มีอาการแพ้ เนื่องจากยางกล้วย (25) และพบอาการแพ้ยางกล้วยในคนไข้ (26, 27)
6.6 ฤทธิ์ต้าน thiamin
น้ำคั้นจากกล้วยมีฤทธิ์ต้าน thiamin (28)
6.7 ผลต่อระบบประสาท
เมื่อฉีดน้ำคั้นจากลำต้นเข้าหลอดเลือดแดงใหญ่ของหนูขาว พบว่าทำให้มีอาการเป็นอัมพาต (29, 30)
amine ที่มีอยู่ในกล้วยป่าอาจทำให้ปวดหัวชนิด migraine และไม่ควรรับประทานกล้วยป่าดิบ ต้องทำให้สุกก่อน (31)


การใช้กล้วยรักษาอาการแน่นจุกเสียด
                    ใช้ผลกล้วยดิบหรืออาจใช้ผลกล้วยดิบที่ฝานบางๆแล้วตากแห้ง รักษาโรคหรืออาการปวดท้องจุกเสียด (32)

การใช้กล้วยรักษาอาการท้องเสีย
                    ใช้กล้วยดิบๆมาหั่นบางๆตากแดดให้แห้ง และบดให้ละเอียดเป็นแป้ง ใช้ผงกล้วยนี้ในปริมาณ 1-2 ช้อนโต๊ะ ใส่ในถ้วยน้ำชา และเอาน้ำผึ้งผสม 1 ช้อนโต๊ะ รับประทานแก้ท้องเสีย (33)

พันธ์กล้วย

วันพุธที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

                     ประเภทของกล้วย
             หากสามารถรวบรวมพันธุ์กล้วยทั่วโลกมาปลูกไว้ในที่เดียวกันสวนกล้วยแปลงนั้นคงต้องใช้เนื้อที่มาก เพราะกล้วยมีสายพันธุ์หลายร้อยพันธุ์ เฉพาะในประเทศไทยก็มีถึง 323 สายพันธ์ ทดลองปลูกได้แล้ว 59 สายพันธุ์ ทั้งที่เป็นกล้วยป่า  กล้วยในท้องถิ่น  พันธุ์ที่นำมาจากต่างประเทศ  พันธุ์กล้วยที่รู้จักกันทั่วไปมีมากมาย
เช่น       กล้วยป่า 
            กล้วยตานี ผลใหญ่มีเมล็ดมาก 
            กล้วยน้ำไทหรือกล้วยหอมเล็ก            
            กล้วยไข่ในประเทศไทยนิยมปลูกมากที่จังหวัดกำแพงเพชร จึงมีคนเรียกว่ากล้วยไข่กำแพงเพชร 
            กล้วยหอมจันทร์                              
            กล้วยนมสาว  พบทางภาคใต้
            กล้วยร้อยหวี  มีผลมาก ผลขนาดเล็ก
            กล้วยหอมทองผลใหญ่
            กล้วยหอมใต้หวัน  มีผลดกกว่ากล้วยหอมทอง
            กล้วยหอมเขียวค่อม  ผลสุกโดยธรรมชาติจะมีสีเขียว  แต่ถ้าบ่มถูกวิธีก็จะมีสีเหลือง
            กล้วยนากมีผลใหญ่
            กล้วยน้ำ
            กล้วยขม
            กล้วยน้ำว้า  ถ้าแบ่งตามไส้จะมี 3 ชนิด  คือ ชนิดไส้ตรง   ชนิดไส้เหลือง  และชนิดไส้แดง
            กล้วยหักมุก  ลักษณะผลเป็นเหลี่ยมชัดเจน  เปลือกหนา 
            กล้วยส้ม  ลักษณะคล้ายกล้วยหัวมุก  แต่ผลเล็กกว่า
            กล้วยนิ้วมือนาง  ผลค่อนข้างใหญ่  ลักษณะอ้วนป้อม
            กล้วยหิน  มีมากทางภาคใต้  มีผลดกคล้ายกล้วยตานี
            กล้วยเปรี้ยว  มีรสค่อนข้างเปรี้ยว
            กล้วยแพ  ลักษณะใบแผ่ออกไปคล้ายพัด
            กล้วยบัว  ลักษณะหัวปลีคล้ายดอกบัว ต้นขนาดเล็ก  มักใช้เป็นไม้ประดับ